สมการเคมี คือ สัญลักษณ์ที่เขียนแทนปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นจากการทดลองจริง โดยเขียนสารที่เข้าทำปฏิกิริิยากัน (สารตั้งต้น, reactants) ไว้ทางด้านซ้ายของลูกศร และเขียนสารที่เกิดจากปฏิกิริยา(สารผลิตภัณฑ์, products) ไว้ทางด้านขวาของลูกศร
ดังนี้
จากกฎทรงมวลเราจึงต้องทำให้แต่ละข้างของสมการต้องมีจำนวนอะตอม และประจุที่เท่ากัน เรียกว่า การดุลสมการ ซึ่งมีข้อสังเกตดังนี้
1. พยายามดุลธาตุที่เหมือนกันให้มีจำนวนอะตอมทั้งสองด้านเท่ากันก่อน
2. ในบางปฏิกิริยามีกลุ่มอะตอมให้ดุลเป็นกลุ่ม
3. ใช้สัมประสิทธิ์(ตัวเลขที่ใช้วางไว้หน้าอะตอม)ช่วยในการดุลสมการ แล้วนับจำนวนอะตอมแต่ละข้างให้เท่ากัน >> อ่านต่อ <<
วันอาทิตย์ที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2556
วันเสาร์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2556
สมการเคมี
สมการเคมี (Chemical equation)
สมการเคมี คือ กลุ่มสัญลักษณ์ที่เขียนแทนปฏิกิริยาเคมี ให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่เกิดขึ้นในระบบ สมการเคมีประกอบด้วยสัญลักษณ์ แสดงสารตั้งต้น และผลิตภัณฑ์ เงื่อนไขแสดงปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น พร้อมด้วยลูกศรทิศทางแสดงของปฏิกิริยา
สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์
Zn
(s) +2HCl(aq) ZnCl2(aq) + H2(g)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)